วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563

สรุปวิจัย เรื่องทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่ได้รับการกิจกรรม
ศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
  •  ปริญญานิพนธ์   พิจิตรา  เกษมประดิษฐ์
  •  หลักสูตรปริญญาการศึกาามหาบัณฑิต  สาขาการศึกษาปฐมวัย                                     มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • ปีการศึกษา 2552
ความมุ่งหมายของการวิจัย 
  • เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการ
          จัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
ขอบเขตของการวิจัย 
       ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ 3 – 4 ปี
ซึ่งกําลังศึกษา อยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ของโรงเรียน
อนุบาลกุ๊กไก่ สังกัด สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตคลองเตย
กรุงเทพมหานครจํานวน 81 คน
 กลุ่มตัวอย่าง  
      กลุ่มตัวอย่างทที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเดกปฐมวัยชาย-หญงิ ที่มีอายุ 3 – 4 ปีซึ่งกำลัง
ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1/3  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ของโรงเรียนอนบาลกุ๊กไก่
สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จํานวน 20 คน 
ตัวแปรที่ศึกษา 
  •  ตัวแปรต้น คือการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมขนมอบ 
  • ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร
นิยามศัพท์เฉพาะ
  1. เด็กปฐมวัย
  2.  กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
  3. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
    กรอบแนวคิดการวิจัย
    สมมติฐานของการวิจัย
    เด็กปฐมวัยที่ทำกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น
     เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีดังนี้ 
    1.   แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
    2.   แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

    การดําเนินการทดลอง

    1.     ขอความร่วมมือกับผู้บริหารโรงเรียนในการทําวิจัย  
    2.     ทําการทดสอบก่อนการทดลองกับนักเรียนกลุ่มทดลองด้วยแบบทดสอบ
           ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 
    3.     ดําเนินการทดลองกับกลุ่มทดลอง โดยให้นักเรียนทํากิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วย
          ขนมอบ กลุ่มละ 5 คน จํานวน 4 กลมุ่ เป็นเวลา 8 สัปดาห์    สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 
            20 นาที ระหว่างเวลา 10.00 – 10.20 น. รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง จํานวน 24 กิจกรรม
    4.     เมื่อครบ 8 สัปดาห์แล้วทําการทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์หลังการ
           ทดลองด้วยแบบทดสอบฉบับเดียวกับก่อนการทดลอง
    5.      นําข้อมูลที่ได้จากการทดสอบไปวิเคราะห์ตามวิธีการทางสถิติเพื่อสรุปผลการ
           วิจัย  
    6.     การแปลผลระดับของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  
    7.     การแปลผลระดับของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ การแปลผลระดับของทักษะ
           พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยในการศึกษาวิจัย ครั้งนี้กําหนดการแปลผล
            ในภาพรวมและจําแนกรายด้าน ดังต่อไปนี้





    สรุปผลการวิจัย
             ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการทดลอง          สูงกว่าก่อนการทดลองทํากิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
    ระดับ .01





    ดูเพิ่มเติมได้ที่
    https://www.google.co.th/url?sa=t&source=web&rct=j&url=http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Pigitra_K.pdf&ved=2ahUKEwiSr5ODpujYAhWJto8KHd83DBIQFjAAegQIFBAB&usg=AOvVaw0Mb1blISlrQYF-MgJeXunw

    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น